ประวัติชีวิตและผลงานของ ท่านอาจารย์ อุลุชาฎะ ศิลปนแหงชาติ สาขาทัศนศิลป(จิตรกรรม)
(http://img9.uploadhouse.com/fileuploads/16744/16744768dbe78fa527ef7dcd0888a6dca3f74bce.jpg) (http://www.uploadhouse.com/viewfile.php?id=16744768&showlnk=0)
(http://img3.uploadhouse.com/fileuploads/16744/167447672b80bc2eb7deb2b4c0db11761c0306a5.jpg) (http://www.uploadhouse.com/viewfile.php?id=16744767&showlnk=0)
นายประยูร อุลุชาฎะ* เกิดเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2471 ที่คลองมหาวงศ ตําบลบาง
เมือง อําเภอเมืองฯ จังหวัดสมุทรปราการ เปนศิลปนคนสําคัญของชาติยุคบุกเบิกศิลปะยุคใหมของไทย
ผูซึ่งไดรับการยอมรับนับถือเปนปูชนียบุคคลในวงการศิลปะและวิทยาการอยางกวางขวาง
นายประยูร อุลุชาฎะ สนใจศิลปะตั้งแตยังเด็ก เมื่อสําเร็จการศึกษาในระดับมัธยมแลว
ไดเขาศึกษาที่โรงเรียนเพาะชาง เมื่อ พ.ศ. 2486 รุนเดียวกับอังคาร กัลยาณพงศ ศิลปนแหงชาติ
และได เขาศึกษาตอที่คณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากรกับทานศาสตราจารย
ศิลป พีระศรี และอาจารยท่านอื่นๆ เปนเวลา 3 ป ไดรับอนุปริญญาศิลปบัณฑิตดานจิตรกรรมและ
ประติมากรรม พ.ศ. 2492
หลังจากนั้นไดศึกษาเพิ่มเติมในดานจิตรกรรมกับทานศาสตราจารยศิลปอีก 2 ป จนมี ความรูและความสามารถ
ในทางทฤษฎีและปฏิบัติศิลปะเปนอยางดี สรางสรรคผลงานดานจิตรกรรมและงานวิชาการศิลปะเผยแพรตอประชาชน
หลังจากที่ไดศึกษาวิชาศิลปะและวิชาชางมาเปนเวลา 8 ป
นายประยูร อุลุชาฎะ เปนศิลปนหัวใหม แตขณะเดียวกันก็เปนผูอนุรักษศิลปะโบราณควบคู กันไป เปนทั้งศิลปนและนักวิชาการ
ในลักษณะเดียวกับทานศาสตราจารยศิลป พีระศรี ผูเปนครู ทํางานศิลปะหลายแบบและเทคนิคเพื่อการทดลองและบุกเบิกยุคแรกๆ
ไมวาจะเปนงานแบบเรียลลิสม อิมเพรสชั่นนิสม คิวบิสม เซอรเรียลลิสม และแบบนามธรรมไดทดลองทํามาหมด
ในดานเทคนิคนั้นได เขียนสีชอลก สีฝุน สีน้ํามัน และสีน้ํา และเขียนได ดีทุกเทคนิค และมีความสามารถชั้นครู
เปนผูที่มีความสามารถใชสีไดดีเยี่ยมในทางจิตรกรรม นอกจากนี้ยังเขียนภาพจิตรกรรมแบบประเพณีนิยมดวย
นายประยูร อุลุชาฎะ กลาววา ไดเขียนภาพมากในชวง พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2500
เปนจิตรกรรมสีน้ํามันมีขนาดกวางเมตรขึ้นไป และมีจํานวนนับรอยภาพ เปนที่นาเสียดายเปนอยางยิ่ง ที่ผลงานเหลานี้
เก็บไวที่มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อมหาวิทยาลัยศิลปากรรื้ออาคารเพื่อสรางใหม ผลงานไดกระจัดกระจายไป เสียหายสูญหาย
และมีนักศึกษาเอาไปเขียนทับ
นับวาเปนการสูญเสียผลงานที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร ศิลปะสมัยใหมไปนับรอยภาพ ผลงานยุคนี้
มีเหลือใหชมและศึกษาไดไม กี่ภาพ ที่สําคัญที่สุด คือ จิตรกรรมสีน้ํามัน ชื่อ “จันทบุรี” เปนผลงาน
จิตรกรรมแบบโพสทอิมเพรสชั่นนิสมของไทย มีเนื้อหาสาระไทย ที่มีอิทธิพลตอศิลปนรุนหลัง
ตั้งแตสมัยนั้นจนถึงทุกวันนี้ ปจจุบันภาพนี้แสดงถาวรในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติศิลปพีระศรีอนุสรณกรมศิลปากร
กรุงเทพมหานคร
ผลงานบุกเบิกที่สําคัญอีกภาพหนึ่งคือภาพชื่อ “ยุคมืด”เปนภาพวาดเอรีรงค เปนแนวผสมผสานแบบคิวบิสม
และเซอรเรียลลิสม ในเนื้อหาสาระไทยซึ่งนับวาเปนผลงานที่บุกเบิกและกาวหนามากในยุคนั้น
และมีผลงานบุกเบิกอีกภาพหนึ่งคือจิตรกรรมชื่อ “ซิมโฟนี อิน เยลโลว ” ซึ่งอยูในแบบนามธรรม
เปนผลงานที่กาวหนาที่สุดของยุคนั้น เพราะกวาศิลปนอื่นจะเริ่มทํางานแบบนามธรรมก็เมื่อ 12 ป
ผานมาแลวตองถือวานายประยูร อุลุชาฎะเปนผูบุกเบิกในดานจิ ตรกรรมนามธรรม
หลังจาก พ.ศ. 2495 เปนตนมา นายประยูร อุลุชาฎะ ไดเลือกแนวทางอิมเพรสชั่นนิสม
ในการสรางสรรคจิตรกรรมสีน้ํามัน สีน้ํา สีชอลก นอกจากนี้มีผลงานจิตรกรรมแบบประเพณี
และแบบผสมผสานประเพณีกับแบบใหม ที่ทําในระยะหลังสุดนี้คือ จิตรกรรมสีน้ําซึ่งเปนผูมี
ความสามารถยอดเยี่ยมผูหนึ่ง สามารถเขียนสีน้ําบางๆ สีสะอาด ใหความงามหรือสุนทรียะเปนอยางมาก
เปนฝมือชั้นครูที่ทําอยู ตลอดเวลา และทําถึงขั้นสุดยอดของสีน้ํา
นายประยูรฯ ไดกลาวถึงเรื่องจิตรกรรมสีน้ําไววา
“เมื่อ พ.ศ. 2511 ขาพเจาเขียนรูปสีน้ําอีกครั้งหนึ่ง ดวยเห็นวาอุปกรณตางๆ ขนไปงาย สะดวกดี
ไมลําบากเหมือนเขียนสีน้ํามัน ขาพเจาไปเขียนที่ดานเกวียน ชายทะเล ลําน้ําเจาพระยา ฯลฯ
งานเหลานี่ ไดจัดแสดงอยางนอย 20 ชิ้ น รวมกับผูอื่นที่พญาไทแกลเลอรี่(บัดนี้ลมไปแลว)
การแสดงครั้งนั้นไดรับการกลาวขวัญกันในดานเทคนิคสีน้ํา ซึ่งขาพเจาเขียนไดอยางสมใจนึก
ประจวบกับเปนระยะที่ทุมเทให การเขียนรูปอยางจริงจัง”
นายประยูร อุลุชาฎะ ไดแสดงผลงานตั้งแต พ.ศ. 2488 ที่สําคัญที่สุด คือ ไดสงผลงาน
เขารวมในการแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ตั้งแตครั้งที่ 2 พ.ศ. 2493 ผลงานไดรับการคัดเลือกและ
ไดรับรางวัลหลายครั้ง รางวัลสูงสุดคือ ภาพชื่อ “จันทบุ รี” ไดรับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ1 เหรียญทอง
ในการแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2498 และในฐานะที่เปนศิลปนอาวุโสคนสําคัญ
มักจะไดรับเชิญไปแสดงผลงานในการแสดงของกลุมตางๆ เสมอ
ผลงานที่มีชื่อ “จันทบุรี ” ไดรับเลือกแสดงในการแสดงศิลปะรวมสมัยของไทยในตางประเทศที่สาธารณรัฐประชาชนจีน
เมื่อ พ.ศ. 2528 ไดมีการรวบรวมผลงาน 30 ปของนายประยูรฯ แสดงที่โรงแรมมณเฑียร เมื่อ พ.ศ. 2527
เมื่อครั้งอายุครบ 60 ป ไดมีการจัดแสดงผลงานยอนหลังใหที่ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป เมื่อ พ.ศ. 2531
นับวาเปนเกียรติสูงสุดสําหรับศิลปนที่ไดรับจากสถาบันของรัฐ และผลงานของนายประยูรฯไดรับการตีพิมพในหนังสือ
ศิลปะสมัยใหม และศิลปะรวมสมัยของไทยเกือบทุกเลม ในฐานะที่เปนผูบุกเบิกและใหอิทธิพลแกศิลปนรุนหลัง
ทําใหมีวิวัฒนาการในทางศิลปะแบบใหม
นอกจากงานสรางสรรคศิลปะแลวนายประยูร อุลุชาฎะ ไดทํางานดานการอนุรักษศิลปะโบราณไวทั้งในดานปฏิบัติและการเขียนหนังสือ
ภาพคัดลอกจิตรกรรมไทยที่ทําขึ้นในชวงที่ศึกษาคนควาที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปจจุบันอยู ในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ
และยังไดเขียนภาพพุทธประวัติภายในพระอุโบสถของวัดปาโค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2517 เปนจิตรกรรมสีฝุนบนผนัง
และศึกษาคนควาที่โบราณสถานอยุธยาเปนเวลา 5 เดือนเต็ม เพื่อเขียนหนังสือชื่อ “หาเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา”
เมื่อประมาณ พ.ศ. 2509 ไดเขียนหนังสือเกี่ยวกับศิลปะประวัติศาสตรและโบราณคดีของไทยมากกวา 60 เลม เกี่ยวกับจิตรกรรม ประติมากรรม
และสถาปตยกรรมไทย เปนที่ยอมรับในวงวิชาการและผูสนใจในเรื่องดังกลาว นอกจากนี้ ยังเปนนักเขียนในนาม น. ณ ปากน้ำ
ไดเขียน “พจนานุกรมศิลปะ” พิมพเผยแพรเมื่อ พ.ศ. 2515 ซึ่งนักวิชาการทั้งในและตางประเทศจะใชผลงานของทานเปนประโยชน
ตอการสอนและการวิจัยจนถึงปจจุบันนี้
ตําแหนงงานราชการ
- ดํารงตําแหนงอาจารยใหญโรงเรียนศิลปศึกษา(เตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากร)
ปจจุบันคือ วิทยาลัยชางศิลป เมื่อ พ.ศ. 2497
- ดํารงตําแหนงเลขาธิการมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2499
- ดํารงตําแหนงนายกสมาคมจิ ตรกรประติมากรสมาคมแหงประเทศไทย
(http://img9.uploadhouse.com/fileuploads/16744/16744766d65486a14a5958ae8f69e4eb0b059664.jpg) (http://www.uploadhouse.com/viewfile.php?id=16744766&showlnk=0)
รางวัลและเกียรติคุณที่ไดรับ
พ.ศ. 2509 - ไดรับทุนมูลนิธิเอเซีย สํารวจอยุธยา 5 เดือน
พ.ศ. 2525 - เปนกรรมการคัดเลือกและตัดสินงานการแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่28
พ.ศ. 2526 - ปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์(ประยุกตศิลป) จากมหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. 2527 - ประกาศเกียรติคุณ “ศิลปนอาวุโส” ของมูลนิธิหอศิลป
พ.ศ. 2528 - กรรมการคัดเลือกและตัดสินสาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแหงชาติครั้งที่ 31
พ.ศ. 2529 - กรรมการคัดเลือกและตัดสินสาขาประติมากรรม การแสดงศิลปกรรมแหงชาติครั้งที่ 32
พ.ศ. 2530 - รับพระราชทานกิตติบัตรในฐานะที่มีบทบาทสําคัญในการสงเสริมงานศิลปะ
สถาปตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ
- ไดรับรางวัลชมเชย วันสัปดาหหนังสือแหงชาติ ครั้งที่ 16 เรื่อง “ฝรั่งในศิลปะไทย”
พ.ศ. 2532 - เปนกรรมการคัดเลือกและตัดสินงานศิลปกรรม การแสดงศิลปกรรมแหงชาติครั้งที่ 35
- ไดรับยกยองเปนผูสนับสนุนดีเด นในการอนุรักษมรดกไทย จากคณะกรรมการวันอนุรักษมรดกไทย
พ.ศ. 2534 - ไดรับยกยองเปนนักศึกษาเกาดีเดน ของมหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. 2535 - ไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติเปน “ศิลปนแหงชาติ ” สาขาทัศนศิลป (จิตรกรรม)
จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2535
- ไดรับรางวัลชมเชยในการประกวดหนังสือดีเดน ประเภทหนังสือสวยงามทั่วไป
เรื่อง “ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย วัดไชยทิศ” ของคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแหงชาติ
- ไดรับโลเกียรติคุณนักศึ กษาดีเดน เนื่องในโอกาสคลายวันสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. 2536 - ไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณมงกุฎไทย ชั้นที่ 4 ชื่อ จัตุรถาภรณ
- ไดรับรางวัลวรรณกรรมไทยชมเชย ประเภทรอยแกว เรื่อง “พุทธประติมากรรมในประเทศไทย” ของมูลนิธิธนาคารกรุงเทพ
พ.ศ. 2537 - ไดรับรางวัลดีเดนในการประกวดหนังสือดีเดน ประเภทหนังสือสวยงามทั่วไป
เรื่อง “ศิลปะวิเศษสยามประเทศ: สุดยอดศิลปะในสายตาศิลปนแหงชาติ”
ของคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2538 - ประกาศเชิดชูเกียรติ “ปูชนียบุคคลดานสถาปตยกรรมไทย” เนื่องในวันอนุรักษมรดกไทย
- ไดรับรางวัลวรรณกรรมไทย รางวัลชมเชยประเภทรอยแกว เรื่อง “วิวัฒนาการลายไทย” ของมูลนิธิธนาคารกรุงเทพ
- ไดรับรางวัลชมเชยในการประกวดหนังสือดีเดน ประเภทหนังสือสวยงามทั่วไป
เรื่อง “ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย วัดคงคาราม” ของคณะกรรมกาพัฒนาหนังสือแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2539 - ไดรับรางวัลชมเชยในการประกวดหนังสือดีเดน ประเภทหนังสือสวยงามทั่วไปเรื่อง “ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย วัดโสมนัสวิหาร”
ของคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2540 - ไดรับรางวัลชมเชยในการประกวดหนังสือดีเดน ประเภทหนังสือสวยงามทั่วไปเรื่อง “ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย วัดสุทัศนเทพวราราม”
ของคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิ การ
พ.ศ. 2541 - ไดรับรางวัลชมเชยในการประกวดหนังสือดีเดน ประเภทหนังสือสวยงามทั่วไปเรื่อง “ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย วัดบางขุนเทียนใน”
ของคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2542 - ปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิ ตติมศักดิ์(ทฤษฎีศิลป) จากมหาวิทยาลัยศิลปากร
- ไดรับรางวัลดีเดนประเภทหนังสือสวยงามทั่วไป เรื่อง “สมุดภาพประวัติศาสตรศิลปะสยามประเทศ : ศิลปะกอนกรุงศรีอยุธยา” ของ
คณะกรรมการพัฒนาหนังสือแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2544 - ไดรับรางวัลชมเชยในการประกวดหนังสือดีเดน ประเภทหนังสือสวยงามทั่วไปเรื่อง “ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย พระที่นั่งทรงผนวช”
และ “สมุดภาพประวัติศาสตรศิลปะสยามประเทศ : ศิลปะสมัยกรุงศรีอยุธยา” ของคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ
การแสดงศิลปกรรมและรางวัล
พ.ศ. 2493 - รางวัลที่ 3 เหรียญทองแดง(มัณฑนศิลป) การแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 2
พ.ศ. 2496 - รางวัลที่ 3 เหรียญทองแดง(จิตรกรรม) การแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 4
พ.ศ. 2498 - รางวัลที่ 1 เหรียญทอง(จิตรกรรม) การแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 6
พ.ศ. 2499 - รางวัลที่ 3 เหรียญทองแดง(จิตรกรรม) การแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 7
พ.ศ. 2503 - รางวัลที่ 3 เหรียญทองแดง(จิตรกรรม) การแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 11
พ.ศ. 2506 - แสดงศิลปกรรมเปนชุดสีน้ําลวนๆ ที่พญาไทแกลเลอรี่ รวมกับศิลปนหลายคน
และยังแสดงศิลปกรรมรวมกับจิตรกร-ประติมากร สมาคมในการแสดงศิลปกรรมแหงชาติอีกหลายครั้ง
พ.ศ. 2524 - วันที่8 กันยายน แสดงภาพสีน้ํา 4 ชิ้น ที่สถาบันเยอรมัน ในงานที่ระลึก “ศิลป พีระศรี”
พ.ศ. 2525 - แสดงภาพสีน้ํา 2 ชิ้น ในงานวันเปดธนาคารแหงประเทศไทย
- แสดงภาพสีน้ํา รวมรับเชิญจาก จิตรกรสีน้ํา “กลุมไวท”
- สงภาพสีน้ําไปรวมแสดงกั บจิตรกรไทยอื่ นๆ ที่ประเทศมาเลเซียและสิ งคโปร
- รวมกับศิลป นอื่นๆ สงภาพพอตเทรตไปแสดง 3 ชิ้น ที่จุ ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2526 - แสดงภาพสีชอลก 3 ชิ้น ในงานนิทรรศการภาพเขี ยนฉลองกรุงรัตนโกสินทร 200 ป ที่ศาลาพระเกี้ยว จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
- ศิลปกรรมหลัง พ.ศ. 2475 ที่ธรรมศาสตร
พ.ศ. 2527 - ศิลปกรรมรวมสมัย 27 ที่River City
- นิทรรศการเดี่ยวจิตรกรรมภาพถายในรอบ 30 ป ของ น. ณ ปากน้ำ ที่โรงแรมมณเฑียร
พ.ศ. 2530 - การแสดงศิลปกรรมที่ The Artist Gallery
- การแสดงศิลปกรรมรําลึกถึง สุเชาว ศิษย คเณศ
- วันเกิดศาสตราจารย ศิลป พีระศรี 95 ป ที่ศูนยสังคีตศิลป
พ.ศ. 2531 - การแสดงผลงาน “เนื่องในโอกาสวันเกิด 5 รอบนักษัตร” ณ พิพิธภั ณฑสถานแหงชาติ หอศิลป
พ.ศ. 2535 - การแสดงงานเชิดชูเกียรติ ศิลปนอาวุโส ประจําป 2535 “73 ศิลปนศิษยศิลปพีระศรี” ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป
พ.ศ. 2536 - การแสดงงานที่ศูนยวัฒนธรรมแหงชาติประเทศไทย
พ.ศ. 2537 - การแสดงนิทรรศการเชิดชูเกียรติศิลปนอาวุโส ณ พิพิ ธภัณฑสถานแหงชาติหอศิลป
ผลงานทางวิชาการ
ชุดศิลปะและโบราณคดี
- บันไดเขาถึงศิลป
- เรื่องนารูจากอดีต
- รอยอดีต
- เรื่องราวของศิลปและศิลปน
- ความงามในศิลปะไทย (ไดรับคัดเลือกเปนหนังสือ 1 ใน 100 เลม ที่คนไทยควรอาน)
- หาเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา
- ศิลปปริทัศน
- แนะนําศิลปสากล
- เที่ยวชมศิลป
- ศิลปรส
- ศิลปในบางกอก
- สารจากนครพิงคถึงบางกอก (เลม1,2)
- ศิลปโบราณของไทย
- จิตรกรรมสมัยอยุธยาจากสมุ ดขอย
- ชมศิลปในอินเดีย
- ประเพณีไทยตางๆ
- ศิลปะแหงอาณาจักรไทยโบราณ
- ศิลปกับโบราณคดีในสยาม
- ศิลปในกรุงเทพมหานคร
- ศิลปะลายรดน้ำ
- ศิลปกรรมโบราณในสยามประเทศ
- คําถาม - คําตอบเรื่องศิลปะไทย
- ศิลปะบนใบเสมา
- วิวัฒนาการลายไทย
- จิตรกรรมรัตนโกสินทรสองรอยป
- เที่วชมศิลปะยุโรปกับ น. ณ ปากน้ำ
- ประวัติจิตรกรเอกของโลก
- ศิลปไทยตามวัด
- ศิลปของพระพุทธรูป
- พจนานุกรมศิลป
- เที่ยวเมืองศิลปะอูทอง
- ศิลปแหงอดีตสมัย
- ความเปนมาของสถูปเจดียในสยามประเทศ
- ศิลปะอยุธยา
- ประวัติจิตรกรรมมอเมริกัน
- สารจากกรุงเทพถึงธนบุรี
- ศาสนาและศิลปในสยามประเทศ
- เปดกรุศิลปน
- ลายปูนปนมัณฑนศิลปอันเลิ ศแหงสยาม
- พุทธประติมากรรมในประเทศไทย
- สยามศิลปะ จิตรกรรม และสถูปเจดีย
- หลักการใชสี
- สังสรรคศิลป
- ตําลาศิลปะไทยรัตนโกสินทร
- ฝรั่งในศิลปะไทย
- ศิลปะคุปตะและปาละของอินเดีย
- ศิลปะจีนและคนจีนในไทย
- หลักการวาด
- องคประกอบศิลป เลม 1
- แบบแผนบานเมืองในสยาม
- เมืองสุโขทัยนี้ดี (น. ณ ปากน้ำ, รศ. ดร. ธิดา สาระยา)
- ความเขาใจในศิลปะ
- เรื่องสนุกโบราณคดี
- พระอาจารยนาค ธนบุรี
- สกุลชางนนทบุรี นนทบุรี
- วัดบางแคใหญ สมุทรสงคราม
- วิวัฒนาการลายไทย
- ศิลปะและวัฒนธรรมจากดินแดนอาหรับเมื่อแรกเขาสูสยามประเทศ
- ศิลปะวิเศษสยามประเทศ สุดยอดศิลปะไทยในสายตาศิลปนแหงชาติ
- ศิลปะโบราณในสยาม (รวมบทความที่ลงในวารสารเมืองโบราณ ป พ.ศ. 2517 -2532)
- คันธาระแหลงปฐมกําเนิดพระพุทธรูปพระเจามิลินท และพระนาคเสน
- สยามศิลปะ จิตรกรรม และสถูปเจดีย
- สมุดภาพประวัติศาสตรศิลปะสยามประเทศ : ศิลปะก อนกรุงศรีอยุธยา
- สมุดภาพประวัติศาสตรศิลปะสยามประเทศ ศิลปะสมัยกรุงศรีอยุธยา
- จิตรกรรมเลาเรื่องสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช
- ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย
- วัดประดูทรงธรรม อยุธยา
- วัดเกาะแกวสุทธาราม เพชรบุรี
- วัดภูมินทรและวัดหนองบัว นาน
- สีมากถา สมุดขอยวัดสุทัศน เทพวราราม
- วัดพระเชตุพนฯ กรุงเทพฯ
- วัดทองธรรมชาติ กรุงเทพฯ
- พระที่นั่งทรงผนวช กรุงเทพฯ
- วัดเขี ยน อางทอง
- วัดบางขุนเทียนใน ธนบุรี
- พระที่นั่งพุทไธสวรรย กรุงเทพฯ
- วัดสุวรรณาราม ธนบุรี
- วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ
- วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ
- วัดโสมนัสวิหาร กรุงเทพฯ
- วัดคงคาราม ราชบุรี
- วัดไชยทิศ กรุงเทพฯ
- วัดมหาพฤฒาราม กรุงเทพฯ
- วัดดุสิดาราม กรุงเทพฯ
- วัดใหมเทพนิมิตร กรุงเทพฯ
- วัดใหมอินทราราม ชลบุรี
- วัดราชสิทธาราม กรุงเทพฯ
- วัดไชยทิศ กรุงเทพฯ
- วัดชองนนทรี กรุงเทพฯ
- วัดมัชฌิมาวาส สงขลา
- จิตรกรรมสมัยอยุธยาในสมุดขอย
- ครูคงแปะ – ครูทองอยู
ชุดโหราศาสตร
- โหราศาสตร
- เคล็ดลับในการใหฤกษ และการตั้งชื่อ
- อาถรรพณพยากรณพิเศษ
- โหราศาสตรแผนใหม
- ไดอารี่โหราศาสตรประจําป
- วิจารณ ดวงชาตาสองรอยดวงฉบับ
- คัมภีรหยินหยาง
- โยคะ
- กาลชาตาและโหราศาสตรบานเมือง
- คาพยากรณความฝน
- ปฐมภาคแหงโหราศาสตร
- ปจฉิมภาคแหงโหราศาสตร
- วิเทศโหราศาสตร
- พื้นฐานของโหราศาสตร
- ความมหัศรรย ในตัวเลข
- โหราศาสตรพิชัยสงคราม ดวงเมือง
- โหราศาสตรภาคพิเศษ ทวาทศเคราะห
- ปกิณกะโหราศาสตร
- พยากรณจรพิสดาร
- พยากรณความฝน
- โหราศาสตรภาคพิเศษ พลูหลวง
- ปฏิทินดวงดาวเนปจูนและพลูโต
- ปฏิทินดาวแบคคัส(ดาวโสม)
- ปุจฉาวิสัชนาโหราศาสตร ภาคพิธีกรรมกับนรลักษณ
- คําพยากรณและการใหฤกษประจําวันตลอดป 2528
- คําพยากรณและการใหฤกษประจําวันตลอดป 2529
- คติความเชื่อและประเพณีเกี่ยวกับการสรางเรือน
- เทวโลก
- พลูหลวง วิจัยดาว และดูดวง
- เคล็ดลางอาถรรพณ
- หยิน หยาง ภูมิพยางกรณและ ฮวงจุ ย
- ตํารานรลักษณศาสตรแหงการทํานายลักษณะบุคคล
- วิถีแหงการพยากรณ
- การใหฤกษฉบับงาย
- คติสยาม
- ยามอัฐกาลแบบงายๆ
- หยิน หยาง ภูมิพยางกรณและ ฮวงจุย
นามปากกา
- “น. ณ ปากน้ำ” เขียนเรื่องศิลปะโบราณคดี และประวัติศาสตร เริ่มครั้งแรกในหนังสือ ชาวกรุง ป พ.ศ. 2500
- “นิรวรรณ ณ ปากน้ำ” เขียนเรื่องศิลปะ โบราณคดี และประวัติศาสตร พบในหนังสือ “ชาวกรุง”
- “พลูหลวง” เขียนประวัติศาสตร สารคดี และโหราศาสตร เริ่มใช ครั้งแรกในหนังสือ สยามสมัย ป พ.ศ. 2501
- “ลุม เจริญศรัทธา” เขียนวิ จารณศิลปะโบราณ เริ่มครั้งแรกในหนังสือสังคมศาสตรปริทัศน
- “กเวล ชไนบูร” เขียนเรื่องสั้นและเปนนามปากกาใชในการเขียนรูปดวย เริ่มครั้งแรกในสยามรัฐสัปดาหวิจารณ
- “เอ.พี.ฟชเซอร” เขียนวิจารณศิลปะ เริ่มครั้งแรกในหนังสือ สังคมศาสตรปริทัศน
- “โอสธี” เขียนโหราศาสตร เริ่มครั้งแรกในหนังสือรายสัปดาห คุณหญิง
- “นายซีเนียร ” เขียนใหมหาวิทยาลัยศิลปากรเปนประจํา เริ่มครั้งแรกในหนังสือตอนรับนองใหมมหาวิทยาลัยศิลปากร
นายประยูร อุลุชาฎะ เปนศิลปนอาวุโสคนสําคัญของชาติ ที่ไดเสียสละและอุทิศตนใหกับงานศิลปะ และวิทยาการดานศิลปวัฒนธรรมของชาติ
เปนคนดีมีวิชา มีคุณธรรมและจริยธรรม เปนปูชนียบุคคล เหมาะสมที่ จะเปนตัวอยางที่ดีของเยาวชน และเปนศักดิ์ศรีของชาติสืบไป
ทานไดถึงแกกรรมดวยโรคหัวใจวาย เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2543 รวมอายุได 72 ป
______________________________________________________________________________
* เลขทะเบียนประจําตัวนักศึกษาที่ 80 ขอมูลจากสมุดทะเบียนนักศึกษาเลมแรกของมหาวิทยาลัยศิลปากร 2486-2516