HOME
We are living in exceptional times. Scientists tell us that we have 10 years to change the way we live, avert the depletion of natural resources and the catastrophic evolution of the Earth's climate.
The stakes are high for us and our children. Everyone should take part in the effort, and HOME has been conceived to take a message of mobilization out to every human being.
For this purpose, HOME needs to be free. A patron, the PPR Group, made this possible. EuropaCorp, the distributor, also pledged not to make any profit because Home is a non-profit film.
HOME has been made for you : share it! And act for the planet.
Yann Arthus-Bertrand (ญานน์ อารฺตุส-แบรฺทรองด์)
HOME official website http://www.home-2009.com
PPR is proud to support HOME http://www.ppr.com
HOME is a carbon offset movie http://www.actioncarbone.org
More information about the Planet http://www.goodplanet.info http://www.youtube.com/v/jqxENMKaeCU&widehttp://www.youtube.com/watch?v=jqxENMKaeCU&wide=1ถ้าจะดูให้สมบูรณ์แบบควรคลิกที่ลิงค์ข้างบน แล้วไปเปิดดูให้เต็มจอด้วยนะครับhttp://www.ted.com/talks/yann_arthus_bertrand_captures_fragile_earth_in_wide_angle.htmlnujai.wordpress.com/2008/06/25/ภาพของ-yann-arthus-bertrand/
http://nujai.wordpress.com/2008/06/25/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87-yann-arthus-bertrand/ผลงานของ Yann Arthus-Bertrand ซึ่งนำมาจัดแสดงในเมืองไทยใช้ชื่อว่า
The Earth From Above:สาสน์สำรวจสภาวะโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Earth From Above: An Aerial Portrait of Our Planet. Towards
a Sustainable Development)ว่ากันว่า
"Earth from Above" เป็นปรากฎการณ์ทางวัฒนธรรมระดับโลก
มีคนเคยชมผลงานนี้มาแล้วมากกว่า 120 ล้านคน จาก 110 เมืองทั่วโลก
เคยจัดแสดงครั้งแรกตามแนวรั้วของสวน Luxembourg กรุงปารีส เมื่อปี 2543
และไทยเองก็เป็นหนึ่งในประเทศที่ "Earth from Above" นั้นวนมาจัดแสดงให้ชม
บอกตรงๆ ว่า ก็มีของดีมาวางอยู่ตรงหน้า
มีเหตุผลอะไรที่คนรักการดูภาพจะไม่ตรงดิ่งไปดูงานนิทรรศการนี้??
theme ของนิทรรศการภาพถ่ายนี้ค่อนข้างชัดเจน
ช่างภาพชาวฝรั่งเศสรายนี้ถ่ายภาพจากมุมสูงหรือถ่ายภาพทางอากาศ
เพื่อต้องการการส่งสารว่าโลกต้องการการพัฒนาอย่างยั่งยืน
หาใช่แต่เพียงใช้แล้วทิ้งไป ปล่อยปละละเลย
ดังนั้นภาพจึงไม่เพียงแต่ออกมาจากมุมบน
ทำให้เกิดความรู้สึกเหมือนคนดูอยู่ในมุมสูงแล้วมองสู่เบื้องล่างเท่านั้น